Search
Close this search box.

อัตลักษณ์อาหารจันท์

อัตลักษณ์อาหารจันท์ เป็นการปรุงและการกินเฉพาะถิ่นที่มีองค์ประกอบของสมุนไพร และเครื่องเทศที่ให้กลิ่น รสสัมผัสที่ชัดเจน กลมกล่อม หอมละมุน ให้อาหารเป็นยา จันทบุรีเป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติในสภาพภูมิประเทศที่เป็นที่ราบสลับภูเขา มีป่าไม้ ภูเขา น้ำตก และทะเล ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด และเติบโตของวัตถุดิบทางอาหารที่หลากหลาย “จากภูผา” ที่อุดมไปด้วย พืช ผัก สมุนไพร และผลไม้ “สู่มหานที” ที่สมบูรณ์ไปด้วยแร่ธาตุ และสัตว์น้ำทางทะเลที่หลากหลาย รวมทั้งยังมีความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากร อาทิเช่น ชาวไทย ชาวจีน ชาวชอง และชาวญวณ โดยมีที่อยู่อาศัยแตกต่างกันออกไป ทั้งพื้นราบพื้นป่า และแถบชายฝั่งทะเล ดังนั้น ชาวจันท์ในแต่ละพื้นที่ จึงนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาประกอบอาหารได้อย่างหลากหลาย จนก่อเกิดเป็น “อัตลักษณ์อาหารจันท์” วัตถุดิบหลักในการรังสรรค์เมนูอาหารจันท์ที่เป็นเอกลักษณ์และโดดเด่นในหนังสือเล่มนี้ประกอบไปด้วย สมุนไพร ผลไม้เขตร้อน อาหารทะเลสด ผลิตภัณฑ์แปรรูป และเส้นจันท์

คู่มือ พริกไทย

คู่มือการปลูกพริกไทย จัดทำขึ้นโดยทีมผู้รับผิดชอบโครงการ Comprehensive Gastronomy Tourism @Chanthaburi กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริม พัฒนารูปแบบการปลูก การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวด้วยเกษตรแม่นยำ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของวัตถุดิบท้องถิ่น คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สนับสนุนงบประมาณโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัย และนวัตกรรม

คู่มือ มะปี๊ด

คู่มือส้มมะปี้ด: ผลไม้สุดจี้ด จัดทำขึ้นโดยทีมผู้รับผิดชอบโครงการ Comprehensive Gastronomy Tourism @Chanthaburi กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริม พัฒนารูปแบบการปลูก การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวด้วยเกษตรแม่นยำ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและความปลอดภัย ของวัตถุดิบท้องถิ่น คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตจันทบุรี สนับสนุนงบประมาณโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม

คู่มือ ทุเรียน

     คู่มือการจัดการโรคของทุเรียน จัดทำขึ้นโดยทีมผู้รับผิดชอบโครงการ Comprehensive Gastronomy Tourism @Chanthaburi กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริม พัฒนารูปแบบการปลูก การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวด้วยเกษตรแม่นยำ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของวัตถุดิบท้องถิ่น คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สนับสนุนงบประมาณโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม

คู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2566

       คู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนี้ใช้สําหรับประกอบ โครงการ COMPREHENSIVE GASTRONOMY TOURISM@CHANTHABURI ได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจาก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) กิจกรรมการพัฒนาพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัตถุประสงค์ เพื่อการให้เกษตรกรเข้าใจการจัดการพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ สามารถ พัฒนาพื้นที่ให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตร และเข้าใจมาตราฐานแหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัยด้านสุขอนามัยของแต่ละแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร การรองรับ ทางการท่องเที่ยวในรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทําให้เกษตรกรจําเป็นต้อง มีการพัฒนาสวนเกษตรสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐาน รวมทั้งเป็นการ เอื้อประโยชน์ต่อนักท่องเที่ยวได้เดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่ได้มาตรฐาน โดยคู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนี้ประกอบด้วย ความสําคัญการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดจันทบุรี ประเภทแหล่งท่อง เที่ยวเชิงเกษตร การเตรียมความพร้อมแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร การบริหาร จัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน การตรวจประเมินมาตรฐานแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตร มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตร และแบบตรวจประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรผู้เขียนหวังว่าคู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ สําหรับเกษตรกร หรือผู้สนใจทั่วไป หากท่านมีข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็น ประการใด ผู้เขียนยินดีน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง

คู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 2566

           คู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนี้ใช้สําหรับประกอบ โครงการ COMPREHENSIVE GASTRONOMY TOURISM@CHANTHABURI ได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจาก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) กิจกรรมการพัฒนาพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัตถุประสงค์ เพื่อการให้เกษตรกรเข้าใจการจัดการพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ สามารถ พัฒนาพื้นที่ให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงเกษตร และเข้าใจมาตราฐานแหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัยด้านสุขอนามัยของแต่ละแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร การรองรับ ทางการท่องเที่ยวในรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทําให้เกษตรกรจําเป็นต้อง มีการพัฒนาสวนเกษตรสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐาน รวมทั้งเป็นการ เอื้อประโยชน์ต่อนักท่องเที่ยวได้เดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ที่ได้มาตรฐาน โดยคู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนี้ประกอบด้วย ความสําคัญการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดจันทบุรี ประเภทแหล่งท่อง เที่ยวเชิงเกษตร การเตรียมความพร้อมแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร การบริหาร จัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน การตรวจประเมินมาตรฐานแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตร มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตร และแบบตรวจประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรผู้เขียนหวังว่าคู่มือการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เล่มนี้คงเป็นประโยชน์ สําหรับเกษตรกร หรือผู้สนใจทั่วไป หากท่านมีข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็น ประการใด ผู้เขียนยินดีน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง

หนังสือมาตรฐานอาหารท้องถิ่นเชิงอัตลักษณ์

      อัตลักษณ์อาหารจันท์ เป็นการปรุง และการกินเฉพาะถิ่นที่มีองค์ประกอบของสมุนไพร และเครื่องเทศที่ให้กลิ่น รสสัมผัสที่ชัดเจน กลมกล่อม หอมละมุน ให้อาหารเป็นยา จันทบุรีเป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติในสภาพภูมิประเทศที่เป็นที่ราบสลับภูเขา มีป่าไม้ ภูเขา น้ำตก และทะเล ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด และเติบโตของวัตถุดิบทางอาหารที่หลากหลาย “จากภูผา” ที่อุดมไปด้วย พืช ผัก สมุนไพร และผลไม้ “สู่มหานที” ที่สมบูรณ์ไปด้วยแร่ธาตุ และสัตว์น้ำทางทะเลที่หลากหลาย รวมทั้งยังมีความหลากหลายทางเชื้อชาติของประชากรอาทิเช่น ชาวไทย ชาวจีน ชาวชอง และชาวญวณ โดยมีที่อยู่อาศัยแตกต่างกันออกไป ทั้งพื้นราบ พื้นป่า และแถบชายฝั่งทะเล ดังนั้น ชาวจันท์ในแต่ละพื้นที่ จึงนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาประกอบอาหารได้อย่างหลากหลาย จนก่อเกิดเป็น “อัตลักษณ์อาหารจันท์” วัตถุดิบหลักในการรังสรรค์เมนูอาหารจันท์ที่เป็นเอกลักษณ์ และโดดเด่นในหนังสือเล่มนี้ประกอบไปด้วย สมุนไพร ผลไม้เขตร้อน อาหารทะเลสด ผลิตภัณฑ์แปรรูป และเส้นจันท์